เมนูหลัก
หน้าหลัก
ข้อมูลการประกันคุณภาพ
แผนภูมิแสดงแผนปฎิบัติการ
ข้อมูลเกี่ยวกับบุคลากร
ข้อมูลเกี่ยวกับนักศึกษา
ข้อมูลการพัฒนาบุคลากร
ข้อมูลเกี่ยวกับวิชาการ
ข้อมูลครุภัณฑ์หน่วยงาน
ข้อมูลอาคารและสิ่งก่อสร้าง
ข้อมูลผลงานประเภทต่างๆ
ข้อมูลเกี่ยวกับการเงิน
ปฏิทินการแจ้งซ่อมครุภัณฑ์
ปฏิทินการขอใช้รถยนต์ราชการ
ปฏิทินการขอใช้ห้องประชุม
แผนภูมิแสดงข้อมูลงานวิจัย
ดาว์โหลดเอกสารประเภทต่างๆ
สายตรงผู้อำนวยการ
   
เข้าระบบ
   
 
จำนวนผู้เข้าเยี่ยมชม
 
counter
   
หน้าหลัก » ตัวบ่งชี้ที่ ๖.๑ ระบบและกลไกการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม (สกอ.๖.๑)
‹ ย้อนกลับ  
   
องค์ประกอบที่ ๖ การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม  
ตัวบ่งชี้ที่ ๖.๑ ระบบและกลไกการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม (สกอ.๖.๑)
เกณฑ์มาตรฐาน
๑. มีระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม และดำเนินการตามระบบที่กำหนด
๒. มีการบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา
๓. มีการเผยแพร่กิจกรรมหรือการบริการด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมต่อสาธารณชน
๔. มีการประเมินผลความสำเร็จของการบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา
๕. มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา
๖. มีการกำหนดหรือสร้างมาตรฐานคุณภาพด้านศิลปะและวัฒนธรรมและมีผลงานเป็นที่ยอมรับในระดับชาติ
 
เกณฑ์การประเมิน
 

คะแนน 

คะแนน 

คะแนน 

คะแนน 

คะแนน 

มีการปฏิบัติ

๑ ข้อ

มีการปฏิบัติ
๒ ข้อ

มีการปฏิบัติ
๓ ข้อ

มีการปฏิบัติ
๔ ข้อ

มีการดำเนินการ

๕ หรือ ๖ ข้อ

 
ผลการดำเนินงาน
 
ผู้รับผิดชอบ : 143สุนทรีสิทธิสงคราม
ผู้กำกับติดตาม : 143จำรัสสาระขวัญ
 

ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม วิทยาลัยฯ ดำเนินการได้ ข้อ ดังนี้

. มีระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมและดำเนินการตามระบบที่กำหนด โดยมี

การกำหนดขั้นตอนการดำเนินงานในคู่มือทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม (๖.๑-๑-๑) มีผู้รับผิดชอบในการวางแผนและดำเนินงานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม (๖.๑-๑-๒) และมีการจัดทำแผนปฏิบัติการกลุ่มกิจการนักศึกษา ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๔ (๖.๑-๑-๓) แผนปฏิบัติการกลุ่มกิจการนักศึกษา ปีงบประมาณ ๒๕๕๕ (๖.๑-๑-๔) โดยวิทยาลัยฯ มีการจัดทำโครงการสืบสานประเพณีตักบาตรดอกไม้ (๖.๑-๑-๕) โครงการบูรณาการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา (๖.๑-๑-๖) โครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมไทย
(๖.๑-๑-๗) และสรุปผลการดำเนินงานโครงการด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม (๖.๑-๑-๘)

๒. มีการบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา โดยวิทยาลัยฯ จัดทำโครงการบูรณาการบริการวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนและการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมเรื่อง การสร้างเสริมสุขภาพด้วยโยคะวิถีพุทธในผู้สูงอายุ วิชาพลศึกษา ร่วมกับสโมสรนักศึกษา และชมรมกีฬา (๖.๑-๒-๑)

. มีการเผยแพร่กิจกรรมหรือการบริการด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมต่อสาธารณชน โดยมีการจัดแสดงกิจกรรมด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมให้แก่ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลพุกร่างในกิจกรรมวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุ (๖.๑-๓-๑) มีการเผยแพร่กิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพด้วยโยคะวิถีพุทธแก่ประชาชนในเขตอำเภอพระพุทธบาท (๖.๑-๓-๒) และมีการเผยแพร่กิจกรรมหรือการบริการด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมทางเว็บไซต์ของวิทยาลัย (๖.๑-๓-๓)

. มีการประเมินผลความสำเร็จของการบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา โดยมีการสรุปและประเมินผลการดำเนินการโครงการบูรณาการบริการวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนและการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมเรื่อง การสร้างเสริมสุขภาพด้วยโยคะวิถีพุทธในผู้สูงอายุ (๖.๑-๔-๑)

. มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา โดยมีข้อเสนอแนะจากการประชุมร่วมกันระหว่างอาจารย์ในฝ่ายพัฒนานักศึกษาและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมกับอาจารย์ผู้ประสานวิชาพลศึกษา และสโมสรนักศึกษาเพื่อนำผลมาปรับปรุงการบูรณาการ (๖.๑-๕-๑)

 
ผลการประเมิน
 
คะแนน อิงเกณฑ์มาตราฐาน บรรลุเป้าหมาย
สบช 5.00 บรรลุ
สกอ 5.00 บรรลุ
สมศ ไม่บรรลุ
 
แนวทางการพัฒนา
 
ฝ่ายพัฒนานักศึกษาและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ควรวางแผนการจัดทำโครงการการบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมร่วมกลุ่มวิชาการ ให้มีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น
 
รายการหลักฐาน
 
 
 
Copyright©Prabormajchannok Instiute of Halth Workforce Development 2009  All rights reserved : Version 7.6.48