เมนูหลัก
หน้าหลัก
ข้อมูลการประกันคุณภาพ
แผนภูมิแสดงแผนปฎิบัติการ
ข้อมูลเกี่ยวกับบุคลากร
ข้อมูลเกี่ยวกับนักศึกษา
ข้อมูลการพัฒนาบุคลากร
ข้อมูลเกี่ยวกับวิชาการ
ข้อมูลครุภัณฑ์หน่วยงาน
ข้อมูลอาคารและสิ่งก่อสร้าง
ข้อมูลผลงานประเภทต่างๆ
ข้อมูลเกี่ยวกับการเงิน
ปฏิทินการแจ้งซ่อมครุภัณฑ์
ปฏิทินการขอใช้รถยนต์ราชการ
ปฏิทินการขอใช้ห้องประชุม
แผนภูมิแสดงข้อมูลงานวิจัย
ดาว์โหลดเอกสารประเภทต่างๆ
สายตรงผู้อำนวยการ
   
เข้าระบบ
   
 
จำนวนผู้เข้าเยี่ยมชม
 
counter
   
หน้าหลัก » ตัวบ่งชี้ที่ ๔.๒.๒ ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ (สมศ.๗)
‹ ย้อนกลับ  
   
องค์ประกอบที่ ๔ การวิจัย  
ตัวบ่งชี้ที่ ๔.๒.๒ ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ (สมศ.๗)
เกณฑ์การประเมิน

กำหนดระดับคุณภาพผลงานวิชาการ ดังนี้

ค่าน้ำหนัก

ระดับคุณภาพผลงานวิชาการ

๐.๒๕

-          บทความวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ

๐.๕๐

-          บทความวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ

๐.๗๕

-          ตำราหรือหนังสือที่มีการตรวจอ่านโดยผู้ทรงคุณวุฒิ

.๐๐

-          ตำราหรือหนังสือที่ใช้ในการขอผลงานทางวิชาการและผ่านการพิจารณาตามเกณฑ์การขอตำแหน่งทางวิชาการแล้ว หรือตำราหรือหนังสือที่มีคุณภาพสูงมีผู้ทรงคุณวุฒิตรวจอ่านตามเกณฑ์การขอตำแหน่งทางวิชาการ

 
เกณฑ์การประเมิน
 
ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกำหนดร้อยละ ๑๐ เท่ากับ ๕ คะแนน ทุกกลุ่มสาขาวิชา
 
ผลการดำเนินงาน
 
ผู้รับผิดชอบ : 2อุทัยทิพย์จันทร์เพ็ญ
ผู้กำกับติดตาม : 3สุจินตนาพันธ์กล้า
 

ผลการดำเนินงาน

ข้อ

ข้อมูลพื้นฐาน

ค่าน้ำหนัก

ผลการดำเนินงาน

ปี ๒๕๕4

ผลรวม

1

บทความวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ

0.25

0

0

2

บทความวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ

0.50

0

0

3

ตำราหรือหนังสือที่มีการประเมินผ่านตามเกณฑ์โดยผู้ทรงคุณวุฒิ

0.75

1

0.75

4

ตำราหรือหนังสือที่ใช้ในการขอผลงานทางวิชาการและผ่านการพิจารณาตามเกณฑ์การขอตำแหน่งทางวิชาการ แล้วหรือตำราหรือหนังสือที่มีคุณภาพสูงมีผู้ทรงคุณวุฒิตรวจอ่านตามเกณฑ์การขอตำแหน่งทางวิชาการ

1.00

0

0

5

ผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานวิชาการที่ได้รับรองคุณภาพ

-

-

0.75

6

จำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำทั้งหมด(นับรวมที่ลาศึกษาต่อ)

-

๔3

-

ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ ในปีการศึกษา 2554 วิทยาลัยฯ มีตำราที่มีการตรวจอ่านโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 1 เรื่อง ได้แก่ การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการสวนปัสสาวะ กรณีศึกษาผู้ป่วยต่อมลูกหมากโต จำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมด 43 คน คิดเป็นร้อยละ 1.744 คะแนนที่ได้เท่ากับ 0.872

วิธีการคำนวณ 0.75 * 100 เท่ากับ 1.744

43

การคิดคะแนน 1.744 * 5 เท่ากับ 0.872

10

 
ผลการประเมิน
 
คะแนน อิงเกณฑ์มาตราฐาน บรรลุเป้าหมาย
สบช 0.87 ไม่บรรลุ
สกอ ไม่บรรลุ
สมศ 0.87 ไม่บรรลุ
 
แนวทางการพัฒนา
 

คณะกรรมการพัฒนาผลงานวิจัย และวิชาการ สนับสนุนให้อาจารย์ผลิตผลงานวิชาการ ตำรา หรือหนังสือที่มีคุณภาพสูง โดยกำหนดเวลาให้อาจารย์สำหรับการทำผลงานวิชาการ และจัดให้มีผู้ทรงคุณวุฒิตรวจอ่านตามเกณฑ์การขอตำแหน่งทางวิชาการ ในปีการศึกษา 2554

            คณะกรรมการพัฒนาผลงานวิจัย และวิชาการ ดำเนินการพัฒนาอาจารย์ดังนี้

            1.เร่งรัดอาจารย์พัฒนาอาจารย์ที่มีเกณฑ์การพิจารณาขอตำแหน่งจัดทำผลงานวิชาการเขียนตำรา หรือหนังสือ จำนวน 1 เล่ม/ปี และอาจารย์ที่มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติงาน และมีความเชี่ยวชาญจากการปฏิบัติงานของตนเอง เขียนตำรา 1 เล่ม/ปี

            2.จัดทำแผนการเขียนบทความวิชาการ โดยกำหนดให้อาจารย์ที่มีผลงานวิจัย หรือการให้บริการวิชาการที่สะท้อนมุมมองแนวคิดทฤษฎีที่ได้จากประสบการณ์ สังเคราะห์เอกสารหรืองานวิจัยโดยจัดทำในรูปของบทความทั้งหมด 6 ชื่อเรื่อง ดำเนินการจัดทำข้อตกลงการดำเนินงาน (performance agreement)

            3.จัดหารายชื่อวารสารที่สามารถตีพิมพ์บทความวิชาการได้ตามคำประกาศของฐานข้อมูลการจัดอันดับวารสาร TCI, SCImago Journal Rank Q1,Q2,Q3,Q4 ให้อาจารย์ที่มีผลงานวิจัยจัดเตรียมต้นฉบับ (manuscript) ตามที่วารสารกำหนด

            4.ติดตามกำกับการเขียนบทความวิชาการทุกสัปดาห์ โดยจัดคลินิกให้อาจารย์เขียนตำรา หรือบทความ โดยกำหนดตารางเวลาสำหรับอาจารย์เพื่อดำเนินการเขียนบทความวิชาการ และจัดอาจารย์พี่เลี้ยงเป็นที่ปรึกษาให้กับอาจารย์

            5.จัดทำระบบส่งเสริมขวัญ และกำลังใจสำหรับอาจารย์ที่มีผลงานวิชาการโดยจัดทำ rubric score เพื่อเป็นเกณฑ์สำหรับการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนให้กับอาจารย์ที่มีผลงานเสนอต่อคณะกรรมการบริหารวิทยาลัยพิจารณา

 
รายการหลักฐาน
 
 
 
Copyright©Prabormajchannok Instiute of Halth Workforce Development 2009  All rights reserved : Version 7.6.48