เมนูหลัก
หน้าหลัก
ข้อมูลการประกันคุณภาพ
แผนภูมิแสดงแผนปฎิบัติการ
ข้อมูลเกี่ยวกับบุคลากร
ข้อมูลเกี่ยวกับนักศึกษา
ข้อมูลการพัฒนาบุคลากร
ข้อมูลเกี่ยวกับวิชาการ
ข้อมูลครุภัณฑ์หน่วยงาน
ข้อมูลอาคารและสิ่งก่อสร้าง
ข้อมูลผลงานประเภทต่างๆ
ข้อมูลเกี่ยวกับการเงิน
ปฏิทินการแจ้งซ่อมครุภัณฑ์
ปฏิทินการขอใช้รถยนต์ราชการ
ปฏิทินการขอใช้ห้องประชุม
แผนภูมิแสดงข้อมูลงานวิจัย
ดาว์โหลดเอกสารประเภทต่างๆ
สายตรงผู้อำนวยการ
   
เข้าระบบ
   
 
จำนวนผู้เข้าเยี่ยมชม
 
counter
   
หน้าหลัก » ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๒.๑ การพัฒนาคณาจารย์ (สมศ.๑๔)
‹ ย้อนกลับ  
   
องค์ประกอบที่ ๒ การเรียนการสอน  
ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๒.๑ การพัฒนาคณาจารย์ (สมศ.๑๔)
เกณฑ์การพิจารณา

กำหนดค่าน้ำหนักระดับคุณภาพอาจารย์ ดังนี้

วุฒิการศึกษา

ตำแหน่งทางวิชาการ

ปริญญาตรี

ปริญญาโท

ปริญญาเอก

อาจารย์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

รองศาสตราจารย์

ศาสตราจารย์

๑๐

 

เกณฑ์การให้คะแนน

        ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกำหนดให้ค่าดัชนีคุณภาพอาจารย์เป็น ๖ เท่ากับ ๕ คะแนน

สำหรับสถาบันพระบรมราชชนกในช่วงปีการศึกษา ๒๕๕๓ – ๒๕๕๔  กำหนดให้ค่าดัชนีคุณภาพอาจารย์เป็น ๓.๖ เทียบเท่ากับ ๕  คะแนน  โดยคำนวณจาก คะแนนสูงสุดอิงตามกรอบที่ กพ. กำหนดตำแหน่งให้กับวิทยาลัย ซึ่งกำหนดให้อาจารย์ทุกคนเลื่อนตำแหน่งได้ถึงระดับชำนาญการพิเศษ  และมีตำแหน่งระดับเชี่ยวชาญ เพียง ๑ ตำแหน่ง (ผู้อำนวยการวิทยาลัย) หารด้วยคะแนนสูงสุดอิงตามกรอบการกำหนดตำแหน่งของมหาวิทยาลัย(ศาสตราจารย์ปริญญาเอก)  คูณด้วย ค่าดัชนีคุณภาพอาจารย์ที่ สมศ กำหนดไว้ ๕ คะแนน เขียนเป็นสูตร ได้ดังนี้     

                   ค่าดัชนีคุณภาพอาจารย์     (๖ / ๑๐)  x        =   ๓.๖  เท่ากับ    คะแนน

        และด้วยยังไม่มีพระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนกและยังไม่ได้ดำรงสถานะเป็นนิติบุคคล ให้ใช้การเทียบเคียง  ดังนี้

        อาจารย์ที่ดำรงตำแหน่งระดับชำนาญการ/ชำนาญการพิเศษ  เทียบเท่ากับ        ผู้ช่วยศาสตราจารย์

        อาจารย์ที่ดำรงตำแหน่งระดับเชี่ยวชาญ                        เทียบเท่ากับ        รองศาสตราจารย์

        อาจารย์ที่ดำรงตำแหน่งระดับผู้ทรงคุณวุฒิ                     เทียบเท่ากับ        ศาสตราจารย์

 

 

 

 

 

          สำหรับวิทยาลัยในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข การนับอาจารย์ประจำทั้งหมดทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่อในแต่ละปีการศึกษา  ให้นับเฉพาะอาจารย์ที่มีประสบการณ์การสอนภาคทฤษฏี/ภาคปฏิบัติในสาขาวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า ๑ ปี หลังสำเร็จการศึกษาปริญญาโท ปริญญาเอกทางสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ  หรือ ไม่น้อยกว่า ๒  ปี  หลังสำเร็จการศึกษาปริญญาโท/ปริญญาเอก สาขาอื่น  หรือ ไม่น้อยกว่า ๓ ปี หลังสำเร็จการศึกษาปริญญาตรีสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ  ตามเกณฑ์การรับรองสถาบันของสภาการพยาบาล

 
เกณฑ์การประเมิน
 
 
ผลการดำเนินงาน
 
ผู้รับผิดชอบ : 3จีระวรรณ์อุคคกิมาพันธุ์
ผู้กำกับติดตาม : 3สุจินตนาพันธ์กล้า
 

ดัชนีคุณภาพอาจารย์ปีการศึกษา 2554วิทยาลัยฯ มีอาจารย์ เท่ากับ 39คน ดัชนีคุณภาพอาจารย์เท่ากับ 2.86ผลลัพธ์เท่ากับ 3.97

เกณฑ์การประเมิน

ลำดับ

ตำแหน่งและวุฒิการศึกษา

ค่าน้ำหนัก

จำนวนอาจารย์ปีการศึกษา 2554

ตำแหน่งปฏิบัติการ (c3-5) วุฒิปริญญาตรี

4

ตำแหน่งปฏิบัติการ (c3-5) วุฒิปริญญาโท

2

2

ตำแหน่งปฏิบัติการ (c3-5) วุฒิปริญญาเอก

5

ตำแหน่งชำนาญการ (c6-7) วุฒิปริญญาตรี

1

ตำแหน่งชำนาญการ (c6-7) วุฒิปริญญาโท

2

8

ตำแหน่งชำนาญการ (c6-7) วุฒิปริญญาเอก

5

ตำแหน่งชำนาญการพิเศษ (c8) วุฒิปริญญาตรี

1

0

ตำแหน่งชำนาญการพิเศษ (c8) วุฒิปริญญาโท

3

17.5

ตำแหน่งชำนาญการพิเศษ (c8) วุฒิปริญญาเอก

6

6.5

๑๐

รวมจำนวนอาจารย์ทั้งหมด

39

๑๑

รวมค่าน้ำหนัก (น้ำหนักxอาจารย์)

111.5

๑๒

ดัชนีคุณภาพอาจารย์ (ผลรวมถ่วงน้ำหนักของอาจารย์ประจำ/อาจารย์ประจำทั้งหมด)

2.859

๑๓

ผลลัพธ์ ๓.๖ เท่ากับ ๕

3.971

 
ผลการประเมิน
 
คะแนน อิงเกณฑ์มาตราฐาน บรรลุเป้าหมาย
สบช 3.97 บรรลุ
สกอ ไม่บรรลุ
สมศ 3.97 บรรลุ
 
แนวทางการพัฒนา
 

ฝ่ายพัฒนาบุคลากรวางแผนการพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณวุฒิสูงขึ้นและสนับสนุนให้อาจารย์

ศึกษาต่อในระดับปริญญาโทและปริญญาเอก และการจัดทำผลงานเพื่อขอปรับตำแหน่งทางวิชาการ

 
รายการหลักฐาน
 
 
 
Copyright©Prabormajchannok Instiute of Halth Workforce Development 2009  All rights reserved : Version 7.6.48