เมนูหลัก
หน้าหลัก
ข้อมูลการประกันคุณภาพ
แผนภูมิแสดงแผนปฎิบัติการ
ข้อมูลเกี่ยวกับบุคลากร
ข้อมูลเกี่ยวกับนักศึกษา
ข้อมูลการพัฒนาบุคลากร
ข้อมูลเกี่ยวกับวิชาการ
ข้อมูลครุภัณฑ์หน่วยงาน
ข้อมูลอาคารและสิ่งก่อสร้าง
ข้อมูลผลงานประเภทต่างๆ
ข้อมูลเกี่ยวกับการเงิน
ปฏิทินการแจ้งซ่อมครุภัณฑ์
ปฏิทินการขอใช้รถยนต์ราชการ
ปฏิทินการขอใช้ห้องประชุม
แผนภูมิแสดงข้อมูลงานวิจัย
ดาว์โหลดเอกสารประเภทต่างๆ
สายตรงผู้อำนวยการ
   
เข้าระบบ
   
 
จำนวนผู้เข้าเยี่ยมชม
 
counter
   
หน้าหลัก » ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๖.๑ ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอน (สบช. )
‹ ย้อนกลับ  
   
องค์ประกอบที่ ๒ การเรียนการสอน  
ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๖.๑ ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอน (สบช. )
เกณฑ์มาตรฐาน
๑. . 

  ทุกรายวิชามีการพัฒนารายวิชา ตามผลการประเมินภาพรวมของรายวิชา โดยนักศึกษา และหรือแหล่งฝึก หรือตามที่แสดงไว้ใน มคอ.๕ หรือ มคอ.๖ หรือตามผลการประเมินอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เช่น ผลการสำรวจความคิดเห็นของผู้ใช้บัณฑิตฯ

๒. . 

ทุกรายวิชาชีพมีแผนการสอนในทุกหน่วยการเรียนทางวิชาชีพ (ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ)

๓. . 

  ทุกรายวิชาชีพมีแผนการสอนทุกหน่วยการเรียนที่มีความสอดคล้อง (ALIGN) ระหว่าง วัตถุประสงค์ กิจกรรมการสอน การวัดและประเมินผล.

๔.. 

ทุกรายวิชา มีผังการออกข้อสอบ (Test Blueprint)

๕. . 

มีการอธิบาย  course syllabus หรือ มคอ. ๓ หรือ  มคอ.๔ และ test blueprint ในชั่วโมงแรกของการเรียนการสอน

๖. . ทุกรายวิชาชีพมีการวิพากษ์ข้อสอบ และมีการพิจารณาความเหมาะสมของข้อสอบในทุกรายวิชา
๗. . ทุกรายวิชามีการวิเคราะห์ข้อสอบ โดยมีการวิเคราะห์ความเที่ยงตรง ความยากง่ายและค่าอำนาจจำแนก ของข้อสอบทั้งรายข้อคำถามและรายตัวเลือก
๘. . 

   มีการบูรณาการการเรียนการสอนรายวิชากับการวิจัยหรือการบริการวิชาการหรือการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมหรือการจัดการความรู้หรือการพัฒนานักศึกษา อย่างน้อยร้อยละ ๑๐ ของรายวิชาชีพ           (ในกรณีที่มีการบูรณาการในรายวิชาอื่นๆให้นับรวมทั้งตัวตั้งและตัวหาร)

๙. . 

ทุกรายวิชามีการทวนสอบการดำเนินงานการสอน และมีการประเมินผลการจัดการเรียนการสอนทุกรายวิชาในภาพรวม

 
เกณฑ์การประเมิน
 

คะแนน ๑

คะแนน ๒

คะแนน ๓

คะแนน

คะแนน

มีการดำเนินการ

  ๕ ข้อ

มีการดำเนินการ

๖ ข้อ

มีการดำเนินการ

๗ ข้อ

มีการดำเนินการ

๘ ข้อ

มีการดำเนินการ

 ครบทุกข้อ

 
ผลการดำเนินงาน
 
ผู้รับผิดชอบ : 2กมลอินทร์วรรณเชฐอิสรา
ผู้กำกับติดตาม : 143สุนทรีย์คำเพ็ง
 

ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอน วิทยาลัยฯ ดำเนินการได้ ข้อ ดังนี้

๑. ทุกรายวิชามีการพัฒนารายวิชา ตามผลการประเมินภาพรวมของรายวิชา โดยนักศึกษา และ/หรือแหล่งฝึกหรือตามที่แสดงไว้ใน มคอ. ๕ หรือ ๖ หรือตามผลการประเมินอื่นๆที่เกี่ยวข้อง โดยปีการศึกษา ๒๕๕4 มีรายวิชาที่เปิดสอน 62 รายวิชา ทุกรายวิชานำผลการประเมินภาพรวมของรายวิชาโดยนักศึกษา และอาจารย์ผู้เกี่ยวข้องในปีการศึกษา ๒๕๕3 มาพัฒนารายวิชาในปีการศึกษา ๒๕๕4 ดังรายงานการประชุมสรุปผลการจัดการเรียนการสอนปีการศึกษา ๒๕๕3 (๒.๖.๑-๑-๑) และตามที่แสดงไว้ใน มคอ.๓ และ มคอ.๔ ปีการศึกษา ๒๕๕4 (๒.๖.๑-๑-๒)

๒. ทุกรายวิชาชีพมีแผนการสอนในทุกหน่วยการเรียนทางวิชาชีพ (ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ) โดยในปีการศึกษา ๒๕๕4 มีรายวิชาชีพที่เปิดสอน 31 รายวิชา เป็นภาคทฤษฎี 17 รายวิชาและภาคปฏิบัติ 14 รายวิชา ทุกวิชามีแผนการสอนในทุกหน่วยการเรียน (๒.๖.๑-๒-๑, ๒.๖.๑-๒-๒)

๓. ทุกรายวิชาชีพมีแผนการสอนทุกหน่วยการเรียนที่มีความสอดคล้อง (ALIGN) ระหว่าง วัตถุประสงค์ กิจกรรมการสอน การวัดและประเมินผล โดยในปีการศึกษา ๒๕๕4 มีรายวิชาชีพที่เปิดสอน 31 รายวิชา ทุกรายวิชามีแผนการสอนทุกหน่วยการเรียนที่มีความสอดคล้อง (ALIGN) ระหว่าง วัตถุประสงค์ กิจกรรมการสอน การวัดและประเมินผล (๒.๖.๑-๓-๑, ๒.๖.๑-๓-๒)

. ทุกรายวิชา มีผังการออกข้อสอบ โดยปีการศึกษา ๒๕๕4 มีรายวิชาที่เปิดสอน 62 รายวิชาทุกรายวิชามีผังการออกข้อสอบ (๒.๖.๑-๔-๑, ๒.๖.๑-๔-๒)

๕. มีการอธิบาย course syllabus หรือ มคอ. ๓ มคอ.๔ และ test blueprint ในชั่วโมงแรก ของการเรียนการสอน โดยปีการศึกษา ๒๕๕4 มีรายวิชาที่เปิดสอน 62 รายวิชา อาจารย์ผู้ประสานวิชามีการอธิบาย มคอ. ๓ หรือ มคอ. ๔ และ test blueprint ในชั่วโมงแรกของการเรียนการสอนทุกรายวิชา (๒.๖.๑-๕-๑, ๒.๖.๑-๕-๒)

๖. ทุกรายวิชาชีพมีการวิพากษ์ข้อสอบและมีการพิจารณาความเหมาะสมของข้อสอบในทุก รายวิชา โดยปีการศึกษา ๒๕๕4 มีรายวิชาชีพที่เปิดสอน 31 รายวิชา ทุกรายวิชามีการวิพากษ์ข้อสอบและมีการพิจารณาความเหมาะสมของข้อสอบ (๒.๖.๑-๖-๑, ๒.๖.๑-๖-๒)

๗. ทุกรายวิชามีการวิเคราะห์ข้อสอบ โดยมีการวิเคราะห์ความเที่ยงตรง ความยากง่าย และค่าอำนาจจำแนก ของข้อสอบทั้งรายข้อคำถามและรายตัวเลือก โดยปีการศึกษา ๒๕๕4 มีรายวิชาที่เปิดสอน 62 รายวิชา ทุกรายวิชามีการวิเคราะห์ข้อสอบ โดยมีการวิเคราะห์ความเที่ยงตรง ความยากง่าย และค่าอำนาจจำแนก ของข้อสอบทั้งรายข้อคำถามและรายตัวเลือก (๒.๖.๑-๗-๑, ๒.๖.๑-๗-๒)

๘. มีการบูรณาการการเรียนการสอนรายวิชากับการวิจัยหรือการบริการวิชาการหรือการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมหรือการจัดการความรู้หรือการพัฒนานักศึกษา อย่างน้อยร้อยละ ๑๐ ของรายวิชาชีพ โดยในปีการศึกษา ๒๕๕4 มีรายวิชาที่มีการบูรณาการการเรียนการสอนรายวิชากับการวิจัยหรือการบริการวิชาการหรือการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมหรือการจัดการความรู้หรือการพัฒนานักศึกษา 12 รายวิชา ประกอบด้วย รายวิชาชีพ 11 รายวิชา รายวิชาศึกษาทั่วไป 1 รายวิชา คิดเป็นร้อยละ 37.50 (๒.๖.๑-๘-๑ ,๒.๖.๑-๘-๒, ๒.๖.๑-๘-๓ ) โดย : รายวิชาชีพ 11 รายวิชา ประกอบด้วย

๘.๑ วิชาปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันการเจ็บป่วย และวิชาปฏิบัติการพยาบาลมารดา ทารกและผดุงครรภ์ 1 บูรณาการการเรียนการสอนรายวิชากับการวิจัยและการบริการวิชาการ

๘.๒ วิชาปฏิบัติการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาทางจิต วิชาการพยาบาลครอบครัวและชุมชน 1 วิชาการพยาบาลครอบครัวและชุมชน 2 และวิชาปฏิบัติการพยาบาลครอบครัวและชุมชน 2 บูรณาการการเรียนการสอนรายวิชากับการบริการวิชาการ

8.3 วิชาการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพ 2 วิชาการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาทางจิตและวิชาปฏิบัติการรักษาพยาบาลเบื้องต้น บูรณาการการเรียนการสอนรายวิชากับการบริการวิชาการและการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม

8.4 วิชาปฏิบัติการพยาบาลมารดา ทารกและผดุงครรภ์ 2 (นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่ 4) และวิชาปฏิบัติการพยาบาลมารดา ทารกและผดุงครรภ์ 2 (นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่ 3)
บูรณาการการเรียนการสอนรายวิชากับการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและการพัฒนานักศึกษา

รายวิชากศึกษาทั่วไป 1 รายวิชาประกอบด้วย

๘.5 วิชาพลศึกษาบูรณาการการเรียนการสอนรายวิชากับการบริการวิชาการและการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม

๙. ทุกรายวิชามีการทวนสอบการดำเนินงานการสอน และมีการประเมินผลการจัดการเรียนการ

สอนทุกรายวิชาในภาพรวม โดย

๙.๑ ทุกรายวิชามีการดำเนินงานการสอนตามขั้นตอนที่ระบุในคู่มือครู (๒.๖.๑-๙-๑)

๙.๒ กลุ่มวิชาการมีการประชุมวิพากษ์ มคอ. ๓ และ มคอ.๔ ในแต่ละภาคการศึกษา (๒.๖.๑-๙-๒)

๙.๓ คณะกรรมการทวนสอบผลการจัดการเรียนการสอนรายวิชามีการประชุมเพื่อติดตามทวนสอบการดำเนินงานการสอนในรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา (๒.๖.๑-๙-๓)

๙.๔ คณะกรรมการทวนสอบผลการจัดการเรียนการสอนรายวิชามีการประชุมเพื่อทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของการจัดการเรียนการสอนในแต่ละภาคการศึกษา (๒.๖.๑-๙-๔)

9.5 มีการประเมินผลการจัดการเรียนการสอนทุกรายวิชาในภาพรวม โดยฝ่ายทะเบียนและประมวลผลการศึกษาดำเนินการรวบรวมผลการประเมินการจัดการเรียนการสอนทุกรายวิชาในภาพรวมและจัดทำรายงานเสนอรองผู้อำนวยการกลุ่มวิชาการ (๒.๖.๑-๙-5)

 
ผลการประเมิน
 
คะแนน อิงเกณฑ์มาตราฐาน บรรลุเป้าหมาย
สบช 5.00 บรรลุ
สกอ ไม่บรรลุ
สมศ ไม่บรรลุ
 
แนวทางการพัฒนา
 

หัวหน้ากลุ่มสาระวิชาทุกกลุ่มกำหนดให้มีการบูรณาการการเรียนการสอนรายวิชากับการวิจัยหรือการบริการวิชาการหรือการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมหรือการจัดการความรู้หรือการพัฒนานักศึกษา เพิ่มขึ้นอย่างน้อย  1   รายวิชา    ในปีการศึกษา  2555

 
รายการหลักฐาน
 
 
 
Copyright©Prabormajchannok Instiute of Halth Workforce Development 2009  All rights reserved : Version 7.6.48