เมนูหลัก
หน้าหลัก
ข้อมูลการประกันคุณภาพ
แผนภูมิแสดงแผนปฎิบัติการ
ข้อมูลเกี่ยวกับบุคลากร
ข้อมูลเกี่ยวกับนักศึกษา
ข้อมูลการพัฒนาบุคลากร
ข้อมูลเกี่ยวกับวิชาการ
ข้อมูลครุภัณฑ์หน่วยงาน
ข้อมูลอาคารและสิ่งก่อสร้าง
ข้อมูลผลงานประเภทต่างๆ
ข้อมูลเกี่ยวกับการเงิน
ปฏิทินการแจ้งซ่อมครุภัณฑ์
ปฏิทินการขอใช้รถยนต์ราชการ
ปฏิทินการขอใช้ห้องประชุม
แผนภูมิแสดงข้อมูลงานวิจัย
ดาว์โหลดเอกสารประเภทต่างๆ
สายตรงผู้อำนวยการ
   
เข้าระบบ
   
 
จำนวนผู้เข้าเยี่ยมชม
 
counter
   
หน้าหลัก » ตัวบ่งชี้ที่ ๔.๑.๑ งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ (สมศ.๕)
‹ ย้อนกลับ  
   
องค์ประกอบที่ ๔ การวิจัย  
ตัวบ่งชี้ที่ ๔.๑.๑ งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ (สมศ.๕)
เกณฑ์การประเมิน

ค่าน้ำหนัก

ระดับคุณภาพงานวิจัย

๐.๑๒๕

มีการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ

๐.๒๕

มีการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ หรือมีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI

๐.๕๐

มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติที่มีชื่อปรากฏอยู่ในประกาศของ สมศ

๐.๗๕

มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลการจัดอันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank:www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยู่ในควอไทล์ที่ ๓ หรือ ๔ (Q๓ หรือ Q๔) ในปีล่าสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ์ หรือมีการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติที่มีชื่อปรากฏอยู่ในประกาศของ สมศ

๑.๐๐

มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลการจัดอันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank:www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยู่ในควอไทล์ที่ ๑ หรือ ๒ (Q๑ หรือ Q๒) ในปีล่าสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ์ หรือมีการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติที่มีชื่อปรากฏอยู่ในฐานข้อมูลสากล ISI

เกณฑ์การให้คะแนน
ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกำหนดร้อยละเท่ากับ ๕ คะแนน จำแนกตามกลุ่มสาขาวิชาดังนี้

กลุ่มสาขาวิชา

๕ คะแนน

วิทยาศาสตร์สุขภาพ

๒๐

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

๒๐

มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

๑๐

 
เกณฑ์การประเมิน
 
 
ผลการดำเนินงาน
 
ผู้รับผิดชอบ : 2อุทัยทิพย์จันทร์เพ็ญ
ผู้กำกับติดตาม : 3สุจินตนาพันธ์กล้า
 

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พระพุทธบาทได้ตีพิมพ์เผยแพร่งานวิจัยในปีการศึกษา ๒๕๕๔ ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ระดับนานาชาติ และในวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI จำนวน ๘ เรื่อง ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติที่มีชื่อปรากฏอยู่ในประกาศของ สมศ.จำนวน ๒ เรื่อง และตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏฐานข้อมูลการจัดอันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank: www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยู่ใน ควอไทล์ที่ ๑ จำนวน 1 เรื่อง จำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมด ๔๓ คน ร้อยละของงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่เท่ากับ 9.30 ผลลัพธ์เท่ากับ 2.33

ข้อ

ข้อมูลพื้นฐาน

ค่าน้ำหนัก

ผลการดำเนินงาน

ปีการศึกษา ๒๕๕๔

(มิถุนายน ๒๕๕๔ – พฤษภาคม ๒๕๕๕)

ผลรวม

มีการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ/ระดับนานาชาติหรือมีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI

๐.๒๕

๒.๐๐

มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติทีมีชื่อปรากฏอยู่ในประกาศของ สมศ.

๐.๕๐

๑.๐๐

มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลการจัดอันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank: www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยู่ในควอไทล์ที่ ๓ หรือ ๔ (Q๓ หรือ Q) ในปีล่าสุด ใน Subject category ที่ตีพิมพ์หรือมีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีชื่อปรากฏอยู่ในประกาศของ สมศ.

๐.๗๕

มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏฐานข้อมูลการจัดอันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank: www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยู่ใน ควอไทล์ที่ ๑ หรือ ๒ (Q๑ หรือ Q) ในปีล่าสุด ใน Subject category ที่ตีพิมพ์หรือมีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลสากล ISI หรือ Scopus

๑.๐๐

1

1.00

ผลรวมถ่วงน้ำหนักของงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

ที่ตีพิมพ์หรือเผยแพร่

4.๐๐

จำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมด

๔๓ คน

ร้อยละของงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่ (4.๐๐/๔๓*๑๐๐)

9.30๒

ผลลัพธ์ร้อยละ ๒๐ เท่ากับ ๕ คะแนน (๕/๒๐*9.30๒)

2.3๒๕

 
ผลการประเมิน
 
คะแนน อิงเกณฑ์มาตราฐาน บรรลุเป้าหมาย
สบช 2.33 ไม่บรรลุ
สกอ ไม่บรรลุ
สมศ 2.33 ไม่บรรลุ
 
แนวทางการพัฒนา
 

คณะกรรมการพัฒนาผลงานวิจัยและงานวิชาการดำเนินการจัดทำแผนการเพิ่มจำนวนการตีพิมพ์บทความวิจัยดังนี้

            ๑.จัดทำแผนงานและโครงการการพัฒนาเผยแพร่/ตีพิมพ์บทความในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ ในปีงบประมาณ ๒๕๕๕

            ๒.พัฒนาอาจารย์เพื่อเพิ่มผลผลิตและพัฒนาคุณภาพการจัดทำวิจัยโดยการสนับสนุนให้อาจารย์เข้าร่วมประชุมวิชาการด้านการพัฒนาคุณภาพการวิจัย การนำเสนอผลงานวิจัยในเวทีระดับชาติ และนานาชาติ

            ๓.จัดทำแผนการเขียนบทความวิจัยโดยกำหนดให้อาจารย์ที่มีผลงานวิจัยดำเนินการแล้วเสร็จและงานวิจัยที่กำลังดำเนินการเขียนบทความวิจัย จากรายงานวิจัยทั้งหมดที่มีอยู่สามารถเขียนบทความวิจัยได้ทั้งหมด ๒๔ ชื่อเรื่อง ดำเนินการจัดทำข้อตกลงการดำเนินงาน (Performance agreement)

            ๔.สนับสนุนขวัญและกำลังใจสำหรับอาจารย์ที่มีผลงานวิจัยโดยเสนองบประมาณสนับสนุนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการของอาจารย์ที่เขียนบทความวิจัยต่อคณะกรรมการบริหารวิทยาลัย หลังจากได้รับการพิจารณาแล้วฝ่ายวิจัยและนวัตกรรมประชาสัมพันธ์ให้อาจารย์ทราบในที่ประชุมประจำเดือนและประชาสัมพันธ์ใน website ของวิทยาลัย

            ๕.จัดหารายชื่อวารสารที่สามารถตีพิมพ์บทความวิจัยได้ตามคำประกาศของฐานข้อมูลการจัดอันดับวารสาร TCI, SCImago Journal Rank Q๑, Q๒, Q๓, Q๔ ให้อาจารย์ที่มีผลงานวิจัยจัดเตรียมต้นฉบับ (Manuscript) ตามที่วารสารกำหนด

            ๖.ติดตามกำกับการเขียนบทความวิจัยทุกสัปดาห์ โดยจัดคลินิกวิจัยที่กำหนดตารางเวลาสำหรับอาจารย์เพื่อดำเนินการเขียนบทความวิจัย และจัดอาจารย์พี่เลี้ยงเป็นที่ปรึกษาให้กับอาจารย์

            ๗.จัดทำเวทีการจัดการความรู้เพื่อเพิ่มผลผลิตด้านการตีพิมพ์เผยแพร่บทความวิจัยและสรุปเทคนิควิธีการเขียนบทความวิจัยให้สำเร็จ

            ๘.สนับสนุนขวัญและกำลังใจอาจารย์ที่ตีพิมพ์บทความวิจัยโดยจัดทำ rubric score เพื่อเป็นเกณฑ์สำหรับการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนให้กับอาจารย์ที่มีผลงานเสนอต่อคณะกรรมการบริหารวิทยาลัยพิจารณา

 
รายการหลักฐาน
 
 
 
Copyright©Prabormajchannok Instiute of Halth Workforce Development 2009  All rights reserved : Version 7.6.48